วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สรุปบทที่ 2

สรุปบทที่2
                   ข้อมูล หมายถึงข้อมลดิบที่ถูกรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและนอกองค์การโดยข้อมูลดิบจะยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้ประโยชน์หรือตรงตามความต้องการของผู้ใช้ขณะที่สารสนเทศ หมายถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลข้อมูลดิบที่ถูกเก็บไว้อย่างเป็นระบบโดยผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำไปประกอบการทำงานได้ โดยเฉพาะการตัดสินใจแก้ปัญหาหือเลือกโอกาสทางธุรกิจ ดังนั้นเราสามารถกล่าวได้ว่า สารสนเทศเป็นข้อมูลที่มีความหมายหรือตรงตามความต้องการของผู้ใช้ เนื่องจากข้อมูล

แบบฝึกหัดบทที่ 2

1. นิยามความหมายและยกตัวอย่างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ตอบ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(managemaen information systeme) หรือ MIS หมายถึงระบบที่รวบรวมและจัดเก็บแหล่งข้อมูลต่างๆทั้งภายในและภายนอกอย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อการดำเนินงานนขององค์การเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยที่เราจะเห็นว่า MIS จะประกอบไปด้วยหน้าที่หลัก 2 ประการ 1. สามารถเก็บรวงบรวมข้อมูลจากแหล่ง
ต่างๆทั้งภายในและภายนอก 2. สามารถทำการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ข้อมูลและสารสนเททศมีความเหมือนหรือแตกจ่างกันอย่างไร
 ตอบ ข้อมูลหมายถึงข้อมูลดิบ (RAW DATD) ที่ถูกเก็บรวบรวมจากแหล่งต่างๆทั้งภายในและภายนอก สารสนเทศ คือผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมุลดิบที่ถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบโดยผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำไปประกอบการทำงานหรือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร
3. สารสนเทศที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
ตอบ 1. ถูกต้อง  (Accurate) ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้องและปราศจากความคลาดเคลื่อนโดยที่ความถูกต้องจะ
       ช่วยส่งเสริมให้สารสนเทศที่ได้มาเกิดความน่าเชื่อถือมากขึ้น
                         2.ทันเวลา  (Timeliness)   ข้อมูลจะต้องทันต่อเหตุการณ์และไม่ล้าสมัย  ความล้าสมัยข้อมูลทำใช้สารสนเทศที่
                       ได้มีประโยชน์ต่อผู้ใช้น้อยลง
                         3.สอดคล้องกับงาน  (Relevance)  สารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อผู้บริหารต้องได้จากการประมวลผลข้อมูลที่มี
                       สาระตรงกันหรือสัมพันธ์กับปัญหาของงาน 
                           4.สามารถตรวจสอบได้  (Verifiable)   ข้อมูลบางประเภทอาจมาจากแหล่งข้อมูลที่ซับซ้อนและหลากหลาย
                       ทั้งภายในและภายนอกองค์การ
         4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจอย่างไร
 ตอบ เพื่อการดำรงอยู่รอดของธุรกิจและการเจริญเติบโตของธุรกิจนั้นจะต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเดข้ามามีส่วนร่วมเพราะสารสนเทศทำให้การทำงานเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและสามารถแข็งขันกับธุรกิจอื่นในระดับสากลดังนั้นผู้บริหารรุ่นใหม่จึงต้องเข้าใจวิธีการใช้งานโครงสร้างของระบบสารสนเทศ
      5. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอย่างไร
ตอบ  1. ความสามารถในการจักเก็บข้อมูล (data maniputation)
         2. ความปลอดภัยของข้อมูล (datd security)
         3. ความยืดหยุ่น (flexibility)
         4. ความพอใจของผู้ใช้ (user satisfaction)

 
  6. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีกี่ระดับ อะไรบ้าง
ตอบ   3 ระดับ
1 หัวหน้างานระดับต้น (first-line supervisor)
2 ผู้จัดการระดับกลาง (middle manager)
3.ผู้บริหารระดับสูง (Executive หรือ Top manager)

 
   7.จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการใช้งานระบบสารสนเทศและระดับของผู้บริหารในองค์การ
ตอบ โดยปกติองค์การจะจัดโครงสร้างและกำหนดตำแหน่งตามความเหมาะสมของตน ซึ่งอาจเรียกชื่อตำแหน่งหรือกำหนดหน้าที่งานที่ซ้ำซ้อนกันบ้าง เช่น หัวหน้าแผนกอาจเป็นหัวหน้างานหรือผู้จัดการระดับกลางผู้อำนวยการอาจเป็นผู้จัดการระดับกลางหรือผู้บริหารระดับสูงดังนั้นผู้จัดการสมัยใหม่ไม่เพียงแต่ต้องมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะที่เพียงพอในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
   8.ผู้บริหารสมควรมีบทบาทต่อการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การอย่างไร
ตอบ 1.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างประสิทธิภาพและความพร้อมในการแข็งขันกับองค์การ
        2. เข้าใจความต้องการของระบบและองค์การในสภาพแวดล้อมยุคโลกาภิวัตน์
        3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพในการดำเนินงานทั่งทั้งองค์การ
        4. มีส่วนร่วมในการออกแบบและการพัฒนาคุณภาพในการดำเนินงาน
         5. บริหารและตัดสินใจในการสรรหาและคัดเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารโทรคมนาคม
          6. จัดการและควบคุมผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อผู้เกี่ยวข้อง
          7.ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
          8. เข้าใจประเด็นสำคัญด้านจรยธรรมที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
9. โครงสร้างของหน่วยงานสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง
   ตอบ   3 ส่วน
1. หน่วยวิเคราห์และออกแบบระบบ(Systme Analysis and Desing Unit)
2. หน่วยเขียนชุดคำสั่ง (Progrmming Unit)
3.หน่วยปฏิบัติการและการบริการ (Opertions and Servics Unit)
              10 บุคลากรหน่วยงานสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
                 ตอบ       7 ประเภท
1.หัวหน้างานสารสนเทศ (Chief Informition Officer)
2.นักวิเคราห์และออกแบบ ผSystem Analyst and Desing)
3.ผู้เขียนชุดคำสั่ง (Progammer)
4.ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Application Progemmer)
5.ผู้จัดตารางเวลา (Scheduler)
6.พนักงานจัดเก็บรักษา (Libraina)
7.พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Opertor)
                 11. เพราะเหตุใดผู้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับ 
              จริยธรรมและจรรยาบรรณ
                        ตอบ  จริยธรรมคือความถูกต้องหรือไม่ถูกต้องเป็นตัวแทนศิลธรรมที่เป็นอิสระในการเลือกที่จะชักนำ
                    พฤติกรรมบุคคลเนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศทำให้เกิดปัญหาความแตกต่างระหว่าง 
                     บุคคลและสังคม เพราะสองสิ่งนี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
                  12. จงอธิบายตังอย่างผลกระทบทางบวกและทางลบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                        ตอบ 1. ผลกระทบทางบวก เช่น พัฒนาคุณภาพของการศึกษาในรูปแบบใหม่กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียน    
                          โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอน
                               2. ผลกระทบทางลบ เช่น อาชญากรรมบนเครือข่าย อาชญากรรมในรูปของขโมยความลับ การลักขโมย
                           ข้อมูลสารสนเทศ

สรุปบทที1

สรุปท้ายบทที่1
            ปัจจุบันเราทุกคนต่างยอมรับว่าเทคโนโลยีสารสนเทศหรือที่นิยมเรียกว่า IT มีความหมายสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เทียบเท่ากับเทคโนโลยีเครื่องจักรกลมีผลต่อการปฏิวัติอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลระบบสื่อสารโทรคมนาคมเราสามารถกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศต้องมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการคือ ระบบประมวลผล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และการจักการเทคโนโลยีข้อมูลอย่างเป็นระบบ

วันพุธที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554

แบบฝึกหัดบทที่ 1

1. จงอธิบายความหมายและส่วนประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
    ตอบ 1.ระบบประมวลผลความซับซ้อนในการปฎิบัติงานและต้องการสารสนเทศที่หลากหลายทำให้การจัดการและการประมวลผลข้อมูล
             2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคมการสื่อสารข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการจัดการและประมวลผล
             3. การจัดการข้อมูลปกติบุคคลที่ให้ความสนใจกับเทคโนโลยีจะอธิบายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. เหตุใดการจัดการข้อมูลจึงเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ?
    ตอบ โดยปกติที่ให้ความสนใจกับเทคโนโลยีจะอธิบายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยให้ความสำคัญกับส่วนประกอบ 2 ประการแต่ผู้สนใจด้านการจัดการข้อมูล (datd information management)จะให้ความสำคัญส่วนประกอบที่3 ซึ่งมีความเป็นศิลปะในการจัดรูปแบบและการใช้งานเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
3. หน่วยประมวลผลกลาง (cpu)มีหน้าที่อะไรและสามารถเปรีบยเทียบอวัยวะส่วนใดของมนุษย์
    ตอบ cpu เป็นส่วนประกอบสำคัญที่สำคัญที่สุดของคอมพวเตอร์ เนื่องจากcpu จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานและการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์โดยที่เราสามารถปรียบเทียบ cpu กับสมองมนุษย์ที่มีหน้าที่หลัก 2 ประการ 1. ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ 2. คำนวณและเปรียบเทียบข้อมูล
4. เราสามารถจำแนกคอมพิวเตอร์ออกป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
  ตอบ 4 ประเภท
           1. ซเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
           2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe)
           3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
           4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)
5. เหตุใดจึงมีผู้กล่าวว่า "คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรกลที่เปลี่ยนแปลงโลก" และท่านเห็นด้วยกับความคิดนี้หรือไม่เพราะเหตุใด
    ตอบ เห็นด้วยเพราะคอมพิวเตอร์สามารถช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วการสื่อสารทั่วถึงกันทำให้มีความทันสมัยเปลี่ยนจากยุคดั้งเดิม
6.  ชุดคำสั่งและภาษาคอมสพิวเตอร์คืออะไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
    ตอบ ชุดคำสั่งเปรียบเสมือนจิตใจของระบบคอมพิวเตอร์ที่รวบรวมหลักการคิดและการใช้เหตุผลเข้าไว้ด้วยกันโดยชุดคำสั่งนับว่ามีความสำคัญต่อระบบคอมพิวเตอร์มากชุดคำสั่งสารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท 1. ชุดคำสั่งสำหรับระบบ(systme sofware) 2. ชุดคำสั่งประยุกต์ (Applicationsofwave)
ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางในการติดตอสื่อสารระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างสะดวดรวดเร็วโดยชุดคำสั่งสำหรับใช้งานและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์จะถูกเขียนจากภาษา
7. ภาษายุคที่4 หรือ4GL เป็นอะไรและมีความแตกต่างจากภาษาคอมพิวเตอร์ในอดีตอย่างไร
    ตอบ ภาษายุคที่4 ถุกพัฒนาให้ง่ายต่อการเรียนรู้และการนำไปใช้ซึ่งจะช่วยให้ผู้เขียนชุดคำสั่งและผู้ใช้มีความรู้จักเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ภาษายุคที่4 มีลัษณะเด่น 3 ประการ
1. ง่ายต่อการเรียนรู้ (Easy-to-Learn)
2. ง่ายต่อการใช้งาน(Easy-to-use)
3. มีประสิทธิภาพสูง (High produetivity)
8. จงยกตัวอย่างและอธิบายรายระเอียดของเทคโนโลยีสารโทรคมนาคมที่เป็นประโยชน์ต่องานสารสนเทศขององค์การ
     ตอบ ปัจจุบันเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเทคโนโลยีที่ประยุกต์ให้การส่งผ่านข่าวสารข้อมูลในระยะไกลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยมนุษยได้พัฒนารูปแบบการติดต่อสื่อสารจากสัญญาณเสียงสัญญาณไฟหรือจดหมายหรือในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารแบบอเล็กทรอนิกส์ เช่นโทรศัพท์ วิทยุสื่อสาร ฯลฯ